วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553

การทำภาพถ่ายตัวเองให้เป็นการ์ตูน

1.เปิดไฟล์ภาพขึ้นมา
2. หลังจากที่เราเปิดภาพต้นฉบับมาแล้วก็ให้ทำการสร้าง Duplicate layer เพื่อเป็นการคัดลอกเลเยอร์ภาพ ต้นฉบับของเรานั้นเอง

3.กด Ctrl+i บนเลเยอร์ที่ทำการคัดลอก


4. บนพาเลตเลเยอร์ ให้เปลี่ยนคุณสมบัติของ Blending Mode จาก Normal เป็น Color Dodge ภาพของเรา จะกลายเป็นสีขาวทั้งหมด ไม่ต้องตกใจนะค่ะ เดี๋ยวเราจะทำให้มันกลายเป็นโครงร่างคร่าวๆกันค่ะ



5.เลือก Filter ->Blur -> Gaussian Blur




6. ปรับค่า Radius จนภาพกลายเป็นโครงร่างคร่าวๆนะค่ะ





7.เลือก Create new fill or adjustment layer โดยคลิกเลือกที่ Threshold






8.ปรับภาพ โดยการปรับค่าของ Threshold level จนมองเห็นรายละเอียดของภาพ จะได้ภาพเป็นลายเส้นแล้วค่ะ ถ้าชอบภาพที่เป็นลายเส้นแบบนี้ก็สามารถนำไปใช้ได้เลยค่ะ






วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

1. VARCHAR (ย่อมาจาก Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์) หมายถึงกลุ่มข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล
2. TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น
3. TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ
4. DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD
5. SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
6. MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
7. INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
8. BIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)
9. FLOAT[(M,D)] : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต
10. DOUBLE[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
11. DECIMAL[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง
12. DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS
13. TIMESTAMP[(M)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8
14. TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS
15. YEAR[(2/4)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069
16. CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ
17. TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์
18. TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร
19. BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64
20. KBMEDIUMBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB
21. MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร
22. LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB
23. LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
24. SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า
25. ENUM(Enumeration) : หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่
26. BINARYระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
27. BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)
28. VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์

วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552

วิธีการติดตั้ง appserv-win32-2.5.9

ทำการดาวน์โหลดโปรแกรม appserv-win32-25.9 โดยเข้าไปโหลดได้ที่ http://kitt.kvc.ac.th/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=1 จากนั้นให้ทำการเซปโปรแกรมโดยเซปไว้ในโฟร์เดอร์ที่เราต้องการ เมื่อดาวโหลดเสร็จแล้วให้ทำการติดตั้งโปรแกรม โดยดับเบิ้ลคลิ้กที่ตัวโปรแกรมจากนั้นโปรแกรมจะทำการเริ่มการติดตั้งโดยเข้าไปที่หน้าแรกคือ กน้าการกล่าวยินดีสำหรับการใช้โปรแกรมนี้ให้เราคลิ้กที่ next ได้เลย เมื่อคลิ้ก next เสร็จแล้วโปรแกรมจะเข้าไปยังหน้าที่สอง ซึ่งหน้านี้เป็นหน้าของกฎและเงื่อนไขของการใช้โปรแกรมให้เราคลิ้กที่คำว่า I Agree เพื่อเป็นการยอมรับโปรแกรม จากนั้นคลิ้กmuj next เมื่อคลิ้ก next แล้วหน้าต่อไปคือการเลือกโฟร์เดอร์เซปงานของโปรแกรมนี้ หน้านี้เราจะแก้ไขหรือไม่แก้ไขก็ได้แล้วแต่จะสะดวก จากนั้นคลิ้ก next หน้าต่อไปคือหน้าของโปรแกรมทั้งหมดที่จะติดตั้ง หารเราไม่ต้องการโปรแกรมไหนก็ทำการคลิ้กออก แต่ในตัวอย่างนี้เราจะเอาโปรแกรมทั้งหมด เมื่อเสร็จแล้วให้คลิ้กที่ next หน้าต่อไปคือกำหนดชื่อและการใส่พาสเวิร์ดของโปรแกรม หน้านี้เรากำหนดเองใส่อะไรก็ได้แต่ขอให้จำได้ก็พอ จากนั้นคลิ้กที่ next เมื่อคลิ้กเสร็จแล้วจะมาอีกหน้าหนึ่งซึ่งก็คล้ายๆกับหน้าที่แล้ว ให้ทำเหมือนหน้าที่แล้วโดยกำหนดเอง จากนั้นคลิ้ก Install เมื่อโปรแกรมติดตั้งเสร็จแล้วให้คลิ้กที่ Finish จากนั้นให้เช็คว่าโปรแกรมใช้ได้หรือไม่โดยการเข้าไปที่ www.localhost.com ถ้าโปรแกรมใช้ได้จะขึ้นหน้าเวป แต่หากใช้ไม่ได้จะไม่ขึ้นหน้าเวปเป็นการเสร็จสิ้นขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม

วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552

Vocaburaly

1. Database = หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยไม่ได้บังคับว่าข้อมูลทั้งหมดนี้จะต้องเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเดียวกันหรือแยกเก็บหลาย ๆ แฟ้มข้อมูล นั่นก็คือการเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลนั้นเราอาจจะเก็บทั้งฐานข้อมูล
2. DBMS (data base management system)DBMS = ระบบจัดการฐานข้อมูล คือ ซอฟต์แวร์ที่เปรียบเสมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล ซึ่งมีหน้าที่ช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายสะดวกและมีประสิทธิภาพ การเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้อาจเป็นการสร้างฐานข้อมูล การแก้ไขฐานข้อมูล
3. Database Administrators : ของซอฟแวร์DBAs = ฐานข้อมูลผู้ดูแล: DBAs
4. Database Development = ใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย
5. Data Definition Language : DDL = ภาษาที่ใช้สำหรับนิยามข้อมูล
6. Data Interrogation = การสืบค้นข้อมูล ความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล โดยการใช้ภาษาสอบถาม (Query Language) หรือตัวสร้างรายงาน (Report Generator) ซึ่งทำให้สามารถรับคำตอบทันทีในรูปแบบของการแสดงทางจอภาพหรือรายงาน
7. Graphical and Natural Queries = กราฟิกและธรรมชาติการค้นหาผู้ใช้ ( และผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศ) หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์แปลให้เป็นคำสั่ง SQL หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นที่อาจใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่คล้ายกับการสนทนาภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ
8. Application Development = วงจรการพัฒนาระบบ ให้มีขั้นตอนการทำงานที่รวบรัดมากขึ้น มีการเลือกเครื่องมือ (Tools) และเทคนิค (Techniques) ต่างๆ เพื่อช่วยในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจนั้น ดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว
9. Data Manipulation Language : DML = คือ ภาษาจัดการข้อมูล ภาษาที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลภายในฐานข้อมูล ได้แก่การเรียกค้น เพิ่ม ลบ และปรับปรุงฐานข้อมูล
10. Subject Area Database : SADB = ฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย
11. Analytical Database = ฐานข้อมูลวิเคราะห์ เก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
12. Multidimensional Database = ระบบฐานข้อมูลหลายมิติ
13. Data Warehouses = คือ ศูนย์รวมของข้อมูลที่จัดให้อยู่ในลักษณะที่สะดวกต่อการนำไปวิเคราะห์โดยง่าย ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับยอดขาย อาจมีองค์ประกอบจากลูกค้า, พนักงานขาย, ระยะเวลา, ประเภท และชนิดของสินค้า ซึ่งข้อมูลอาจมาจากหลายๆ ระบบ
14. Distributed Databases = ฐานข้อมูลแบบกระจาย
15. End User Databases = ฐานข้อมูลผู้ใช้ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ หรือรับจากไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออาจจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่เกิดจากการใช้แผ่นตารางทำการ (Spreadsheet) และโปรแกรมประยุกต์ระบบจัดการฐานข้อมูล
16. Field = เป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว เป็นต้น จากความหมายนี้ ก็คือ แอตทริบิวต์นั่นเอง
17. Record = จะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
18. Table = จะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19. Entity = หมายถึง เป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า
20. InfraStucture Management = การจัดการ InfraStucture

วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552

คำศัพท์

คำศัพท์
เรื่อง Hoe Euvl chipmaking work

ลำดับที่ คำศัพท์ คำอ่าน คำแปล
(1.) Prototype โฟรโทไทร์ แบบเดิม
(2.) Powerful เพาเวอร์ฟลู ประสิทธิภาพ
(3.) Extend เอ็กเท็น ขยาย
(4.) Believe บีลีฟ เชื่อถือ
(5.) Pattern แพ็คเท็นส์ แบบแผน
(6.) Job จอป ชิ้นงาน
(7.) Manufacturing เมนูเฟคโทริง การผลิต
(8.) Light ไลท์ ความสว่าง
(9.) Leran เลิน เรียนรู้
(10.) Current คอร์เร็ท ปัจจุบัน
(11.) Transfer ทรานฟอร์ การโอนเงิน
(12.) Circuit เซอร์ คิท วงจร
(13.) Design ดีไซต์ส ออกแบบ
(14.) Directed ไดเรคท กำกับ
(15.) Optical ออพ ทิเคิล ผ่านไป
(16.) Shrink ชริงค หด
(17.) Projected โปรแจ๊คเตอร์ ฉ่าย
(18.) Liquid ลิค ควิด เหลว
(19.) Plastic พลาสติก พลาสติก
(20.) Called คอลดิ เรียก
(21.) Through ธรู ผ่านไป
(22.) Exposed เอ็กฟอร์ดิ พบเห็น
(23.) Somewhat ซำวอสทิ ค่อนข้าง
(24.) Hardened ฮาร์ด เอน แข็งกระด้าง
(25.) Shorter ชอร์ท สั้น
(26.) Creating คริเดนอิง การสร้าง
(27.) Wavelength แวฟเรทต ความยาวของคลื่น
(28.) Equals อี เควิล เท่ากับ
(29.) Faster ฟาสท เร็วขึ้น
(30.) Reason รี เซิน เหตุผล
(31.) Problem พรอบ เลม ปัญหา
(32.) Absorbed แอบซอร์บ ดูดซึม
(33.) Intended อินเทนด วัตถุประสงค์
(34.) Result ริ ซัลท ผลการ
(35.) Circuit เซอร์ คิท วงจร
(36.) Replaced ริเพลส แทนที่
(37.) Mirrors มิ เรอร์ ห้องพัก
(38.) Entire เอนไท ทั้งหมด
(39.) Process โพร เซล กระบวนการ
(40.) Terms เทอร์ม ข้อตกลง
(41.) Design ดีไซต์ ออกแบบ
(42.) Nature เน เชอร์ ธรรมชาติ
(43.) Create ครีเอท การสร้าง
(44.) Speeds สปีดส์ ความเร็ว
(45.) Place พาส สถานที่
(46.) Vacuum แวส ซิเลท สูญญากาศ
(47.) Compavison คอมโพวิชัน เปรียบเทียบ
(48.) Predicted พรีดิคล คาดการณ์
(49.) Semiconductor เซมิคอนดักเตอร์ สารกึ่งตัวนำ
(50.) Support ซ้บปอร์ดท สนับสนุน